การ จัด งาน ศพ และ กำหนดการงานศพ ที่สำคัญ

กำหนดการงานศพ

ในการ จัด งาน ศพ สำหรับในกรณีที่มีผู้ล่วงลับแล้วนั้น จำเป็นต้องมีการจัดงานฌาปนกิจ หรือ จัด งาน ศพ ขึ้นให้กับผู้ล่วงลับซึ่งจำเป็นจะต้องมีรายละเอียด กำหนดการงานศพ ที่มีในแต่ละหัวข้อที่จะมีลักษณะเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน ที่ทางเจ้าภาพ หรือทางญาติจำเป็นจะต้องทำการปฏิบัติก่อนและหลัง ซึ่งท่านจะสามารถศึกษาได้จากในเนื้อหาต่อไปนี้

ลำดับ กำหนดการงานศพ และการ จัด งาน ศพ ที่ต้องรู้

อย่างที่เราได้เรียนให้ท่านได้ทราบขนาดตอนต้นว่า ในรูปแบบของการ จัด งาน ศพ นั้นจำเป็นต้องมีการ กำหนดการงานศพ ที่ค่อนข้างจะแน่นอน เพราะในแต่ละรูปแบบพิธีการทางราชการ หรือพิธีการทางศาสนา ก็จะมีขั้นตอนในการดำเนินการที่แตกต่างกันไป ซึ่งจะเป็นลักษณะที่มีความเชื่อมโยงซึ่งกันและกันในแต่ละขั้นตอน ซึ่งในส่วนของขั้นตอนในการดำเนินพิธีการในส่วนนี้ก็จะสามารถแบ่งแยกได้เป็นหัวข้อ ดังต่อไปนี้

เมรุ

  1. การแจ้งตายเพื่อขอใบมรณะ
  2. การนำศพไปฌาปนกิจสถาน
  3. พิธีการอาบน้ำศพ และพิธีการรดน้ำศพ
  4. การจัดงานบำเพ็ญกุศลสวดพระอภิธรรมศพ
  5. การบรรจุร่างผู้วายชนม์
  6. พิธีการฌาปนกิจศพ
  7. พิธีการเก็บอัฐิ
  8. พิธีการลอยอังคาร

ซึ่งในแต่ละหัวข้อที่เราได้ จะแจ้งรายละเอียดให้ท่านได้ทราบจะเป็นขั้นตอนในการดำเนินงานพิธีการต่าง ๆ ซึ่งจะมีการเรียงลำดับออกมาอย่างถูกต้องตามขั้นตอนที่ควรจะต้องเป็น ซึ่งท่านสามารถรับทราบถึงข้อมูลที่จะมีการแสดง ขั้นตอนรายละเอียดให้กับท่านได้รับรู้จากเนื้อหาในลำดับต่อไป

กำหนดการงานศพ ตามลำดับขั้นตอนที่ต้องปฏิบัติตาม

ในส่วนต่อไปนี้ก็จะเป็น กำหนดการงานศพ ซึ่งจะสามารถแสดงรายละเอียดให้ท่านได้ทราบในแต่ละรูปแบบ เราจะพบได้ว่าในแต่ละรูปแบบของงานวิธี หรือการ จัด งาน ศพ ในส่วนนี้ อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงซึ่งรายละเอียดได้บ้างเล็กน้อย ซึ่งท่านสามารถทำการปรึกษากันได้กับทางผู้ดูแล ฌาปนสถาน หรือ ในส่วนของผู้ดูแลสถานที่ เพื่อสอบถามถึงความเป็นไปได้ที่จะมีการปรับเปลี่ยนในแต่ละรูปแบบวิธีการให้เกิดความเหมาะสม ได้นั่นเอง

กำหนดการงานศพ การแจ้งตายเพื่อขอใบมรณะ

กำหนดการงานศพ ในการแจ้งตายเพื่อขอรับใบมรณะนั้น เราจะสามารถทำการขอรับซึ่งใบในส่วนนี้ซึ่งจะมีรูปแบบวิธีการแจ้งซึ่งแตกต่างกันไป 2 กรณีนั้นก็คือ

  1. การเสียชีวิตหรือการถึงแก่กรรมขณะที่อยู่โรงพยาบาล โดยในส่วนนี้ทางแพทย์ผู้ดูแลจะเป็นผู้ออกใบรับรอง หรือยืนยันหลักฐานแสดงเหตุการณ์ในการเสียชีวิต จะมีการนำใบรับรองแพทย์พร้อมด้วยบัตรประจำตัวประชาชนของผู้เสียชีวิต ไปยังสำนักงานการทะเบียนท้องถิ่นที่ว่าการอำเภอที่อยู่ในพื้นที่เดียวกันกลับโรงพยาบาลแห่งนั้น เพื่อทำการขอรับใบมรณะจากทางหน่วยงานราชการ โดยในบางครั้งเราจะพบได้ว่าโรงพยาบาลในบางแห่งก็จะสามารถออกใบมรณะให้กับญาติผู้เสียชีวิตได้โดยทันที
  2. กรณีที่มีการเสียชีวิตที่บ้าน สำหรับในส่วนนี้เจ้าบ้าน หรือตัวแทนผู้รับมอบอำนาจจะต้องไปทำการแจ้งให้ทางเจ้าหน้าที่ตำรวจในท้องที่นั้นได้รับทราบเพื่อทำการลงบันทึกประจำวัน ที่จะนำไปขอรับใบมรณะจากการออกใบรับรองการเสียชีวิตที่ท่านจะต้องทำการยื่นต่อสำนักงานทะเบียนท้องถิ่น หรือในส่วนของผู้ที่มีหน้าที่ดูแลรับผิดชอบในส่วนนี้ ภายในระยะเวลา 24 ชั่วโมง นับตั้งแต่เกิดเหตุการณ์เสียชีวิต หรือพบศพเพื่อที่จะทำการขอใบมรณะต่อไป

เมรุเผาผี

กำหนดการงานศพ การนำศพไปฌาปนกิจสถาน

ในการนำศพไปยังฌาปนกิจสถานนั้น จะต้องมีการระบุลงในใบมรณะว่าจะมีการ จัด งาน ศพ หรือทำการ ฌาปนกิจศพ ณ สถานที่แห่งใด เพื่อที่จะทำการนำร่างของผู้เสียชีวิตไปยัง ณ สถานที่แห่งนั้นโดยในขั้นตอนการ กำหนดการงานศพ สถานที่ฌาปนกิจนั้น ในการเคลื่อนย้ายศพของผู้เสียชีวิตจะสามารถทำการเคลื่อนย้ายศพได้ด้วยตนเอง หรืออาจจะทำการประสานไปทางเจ้าหน้าที่รถของโรงพยาบาล หรือในส่วนของมูลนิธิที่จะมีการจัดเตรียมให้ และให้มีการนิมนต์พระสงฆ์ 1 รูปมาเป็นผู้ชักนำศพเคลื่อนที่จากสถานที่เสียชีวิตไปสู่วัด หรือสถานที่ฌาปนกิจสถานเพื่อไปทำการตั้งบำเพ็ญกุศลทั้งนี้ ในบางครั้งเรายังจะพบว่าอาจจะ ไม่จำเป็นต้องใช้พระสงฆ์ในการนำพาดวงวิญญาณแต่ก็จะสามารถให้เป็นหน้าที่ของทางญาติผู้เสียชีวิตก็ได้อีกด้วยเช่นกัน

กำหนดการงานศพ พิธีการอาบน้ำศพ และพิธีการรดน้ำศพ

สำหรับในพิธีการรดน้ำศพหลังจากที่ได้นำร่างมาสู่สถานที่ จัด งาน ศพ ตั้งบำเพ็ญกุศลแล้วนั้น วิธีการในส่วนนี้ส่วนใหญ่นิยมจะทำ กำหนดการงานศพ ในช่วงเวลา 16:00 น. ถึง 17:00 น. ซึ่งจะมีการเชิญเหล่าบรรดาญาติสนิท หรือ แขกที่เคารพให้มาร่วมไว้อาลัยเป็นครั้งสุดท้าย หรือกล่าวคำอโหสิกรรมให้ซึ่งกันและกัน โดยในการจัดเตรียมอุปกรณ์ในการรดน้ำศพท่านก็จะสามารถ ขอรับได้จาก ณ สถานที่แห่งนั้นที่มักจะมีการจัดเตรียมไว้ให้ที่จะมีในส่วนของ ขัน พาน หรือถาด และอุปกรณ์ต่าง ๆ โดยในสิ่งสำคัญที่ควรจะต้องจัดเตรียมมาเองนั้นก็คือ กลีบดอกไม้ น้ำอบ หรือ น้ำหอม เมื่อถึงเวลาในการรดน้ำศพ ก็จะทำการเรียนเชิญเจ้าภาพ หรือแขกที่เคารพที่มีอาวุโสสูงสุดภายในงานให้เริ่มพิธีการในส่วนนี้จากการจุดเครื่องบูชาพระรัตนตรัย แล้วให้ทำการจุดเครื่องทองน้อยซึ่งอยู่ทางด้านบนของศีรษะของผู้เสียชีวิต แล้วจึงเริ่มพิธีการรดน้ำศพ โดยจะให้มีการรดน้ำศพจากทางญาติพี่น้องของทางผู้เสียชีวิตก่อน แล้วจึงจะทำการเรียนเชิญแขกที่เคารพให้มาแสดงความอาลัยจากการรดน้ำศพ ในระหว่างการรดน้ำศพท่านสุดท้ายที่จะทำการให้เกียรติในการรดน้ำศพนั้นจะเป็นผู้ที่มีอาวุโสสูงสุดที่อยู่ในงานขนาดนั้นที่จะเป็นผู้ให้เกียรติหลังจากที่ได้ทำการรดน้ำศพเป็นที่เรียบร้อยจากท่านที่มีอาวุโสสูงสุดในงานก็จะถือเป็นการสิ้นสุด และจะไม่มีผู้ใดที่จะสามารถรดน้ำศพได้อีกต่อไป

กำหนดการงานศพ การจัดงานบำเพ็ญกุศลสวดพระอภิธรรมศพ

ในส่วนของการบำเพ็ญกุศล หรือการสวดพระอภิธรรมศพนั้น โดยทั่วไปเราจะเรียกกันว่าการสวดหน้าศพ ซึ่งจะมีการสวดทุกวันที่ได้มีการจัดตั้งศพในทุก ๆ คืนโดยส่วนใหญ่แล้วจะมี กำหนดการงานศพ ในการตั้งศพในจำนวนวันที่เป็นเลขที่ที่จะอยู่ระหว่าง 1 3 5 และ 7 คืน หรือในบางรายของทางคณะเจ้าภาพ จัด งาน ศพ ให้มีการจัดตั้งศพที่ 100 วัน และก็จะมีการให้สวดพระอภิธรรมศพที่ 100 วันด้วยเช่นกัน ตามรูปแบบประเพณีที่ยึดถือกันมาแต่โบราณจะมีการนิมนต์พระจำนวน 4 รูป ในการสวดจำนวน 4 จบ ซึ่งในส่วนนี้พระสงฆ์จะได้ทำการลงสดในเวลา 19:00 น เป็น ปกติโดยทั่วไป ซึ่งขณะที่ทางคณะเจ้าภาพจำเป็นจะต้องมีการจัดเตรียมเครื่องไทยธรรมผ้าสบง และผ้าบังสุกุล เพื่อทำการถวายในงานพิธีสวดพระอภิธรรมให้กับผู้เสียชีวิต ทั้งนี้ก็ยังจะให้มีการจัดเตรียมในส่วนของอาหารว่าง หรืออาหารสำหรับจัดเลี้ยงแขกผู้มีเกียรติ ที่มาร่วมฟังการสวดพระอภิธรรม

กำหนดการงานศพ พิธีการฌาปนกิจศพ

สำหรับในส่วนของการฌาปนกิจศพที่เราอาจจะเรียกได้ว่าการปลงศพ หรือการเผาศพนั้นจะต้องมีการ กำหนดการงานศพ จัดพิธีการส่วนนี้ที่แน่นอนที่จะได้มีการทำข้อตกลง หรือทำความเข้าใจร่วมกันกับทางเจ้าหน้าที่ที่ดูแลฌาปนสถาน ในการกำหนดจองวันที่และเวลา ซึ่งโดยปกติในกรณีที่มีการบรรจุเก็บร่างศพไว้ก่อนที่จะทำการฌาปนกิจนั้นจะต้องมีการ จัด งาน ศพ เพื่อทำการสวดพระอภิธรรมในอีก 1 วาระก่อน โดยจะให้มีการ สวดพระอภิธรรมศพ 1 คืน แล้วจึงจะจัดพิธีการฌาปนกิจในวันรุ่งขึ้น หากไม่เป็นเช่นนั้น ในบางครั้งเราจะพบว่าอาจจะไม่มีการสวดพระอภิธรรม ใด ๆ อีกเลยเพียงแต่อาจจะมีการยกศพของผู้เสียชีวิตขึ้นตั้ง ในช่วงเช้าจะให้มีการนิมนต์พระเลี้ยงเพล และให้มีการเทศนาธรรมภายในช่วงบ่าย และจัดการฌาปนกิจศพในช่วงเย็น ซึ่งเรามักจะเห็นรูปแบบวิธีการในลักษณะนี้พี่จะเรียกว่าการตั้งเช้าเผาเย็น ในกรณีที่ร่างของศพนั้นเป็นบุพการี เป็นสามี หรือเป็นภรรยาควรจะมีการตั้งสวดพระอภิธรรมอีก 1 คืนก่อนเสมอ เพื่อเป็นการให้เกียรติ และเป็นการไว้อาลัยร่วมรำลึกถึงผู้ล่วงลับ อีกทั้งยังเป็นส่วนในการทำบุญอุทิศส่วนกุศลเพิ่มเติมให้กับผู้ล่วงลับได้อีกนั่นเอง

ฌาปนกิจ

หลังจากเสร็จสิ้นงานพิธีในส่วนนี้ไปแล้ว เราก็จะพบได้ว่าในงาน วิธี จัด งาน ศพ หรือการ กำหนดการงานศพ ซึ่งนอกเหนือจากพิธีหลักซึ่งอยู่ ในช่วงของการสวดพระอภิธรรม หรือกำหนดการวันปลงศพแล้ว ก็ยังจะเหลืออีก 2 ขั้นตอนหลัก ๆ นั่นก็คือ วิธีการเก็บอัฐิ หรือลอยอังคาร ในวันรุ่งขึ้น ซึ่งก็จะเป็นรูปแบบของการจัดงาน หรือพิธีการจากนอกสถานที่ซึ่งท่านจะสามารถ จัดการงานพิธีในส่วนนี้ได้โดยง่าย ซึ่งเราจะพบได้ว่าในปัจจุบันจะมีผู้ให้บริการรองรับรูปแบบงานพิธีในส่วนนี้กันอย่างแพร่หลาย ทั้งในส่วนของผู้ให้บริการซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐ หรือรูปแบบการให้บริการพิธีการในส่วนนี้จากทางวัดต่าง ๆ โดยทั่วไป โดยใน กำหนดการงานศพ สำหรับการ จัด งาน ศพ ในส่วนนี้ ในบางรูปแบบ หรือบางขั้นตอนของวิธีการ ท่านจะสามารถทำการปรับเปลี่ยนให้เป็นไปในความเหมาะสมตามความต้องการของท่านได้เพื่อให้เกิดความแน่ใจก็ควรจะทำการปรึกษากับทางเจ้าหน้าที่ที่ดูแล ฌาปนสถาน ต่าง ๆ แห่งนั้นว่าสิ่งใดซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนแก้ไขให้ตรงตามความต้องการของเหล่าบรรดาเจ้าภาพ หรือเครือญาติได้นั่นเอง

กำหนดการงานศพ เป็นเรื่องที่สำคัญเป็นอย่างมากของการ จัด งาน ศพ เพราะในแต่ละรูปแบบ หรือแต่ละขั้นตอนนั้นจะมีลักษณะของความเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน บางสิ่งบางอย่างจะต้องทำตามลำดับก่อนหลังเท่านั้น ถึงจะถูกต้องและสมบูรณ์

Share:

Facebook
Twitter
Pinterest

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *

Susarn

บทความที่น่าสนใจ

ทำความรู้จักกับการเดิมพัน หวยวิ่ง อีกหนึ่งการของหวยออนไลน์

รูปแบบการเดิมพันเกมหวยระบบออนไลน์ มีเกมให้คุณได้เลือกท้าชิงอย่างมากมาย หนึ่งรูปแบบการเดิมพันที่สามารถคว้าเงินรางวัลได้ง่าย แม้ว่าจะมีอัตราการจ่ายเงินรางวัลที่ไม่สูงมากนัก แต่ก็สามารถทำเงินให้กับคุณได้อย่างเต็มที่ ก็คือการเดิมพัน หวยวิ่ง โอกาสทายผลเลขเด็ดที่ง่ายแสนง่าย สามารถร่วมสนุกได้กับการเดิมพันในเว็บไซต์ของ Huaylike

ดอกไม้จันทน์

ดอกไม้จันทน์ ประวัติและการนำไปใช้เป็นอย่างไร

ดอกไม้จันทน์ พิธีการนำดอกไม้จันทน์ไปใช้ใน งานศพ ถือเป็นการแสดงความอาลัยต่อผู้วายชนม์เป็นครั้งสุดท้ายของบรรดาญาติสนิทมิตรสหาย เป็นการส่งดวงวิญญาณของผู้ตายให้ไปสู่สรวงสวรรค์ หรือภพภูมิที่ดี เป็นสิ่งสุดท้ายของผู้อยู่ข้างหลังจะทำไห้กับผู้ตายซึ่งเป็นบุคคลที่รักและเคารพเป็นครั้งสุดท้าย ที่ตำนานเชื่อกันมาอย่างนั้น แต่จะมีสักกี่คนที่รู้ประวัติความเป็นมาของดอกไม้จันทน์ วันนี้ของโอกาสมานำเสนอเพื่อให้เป็นวิทยาทาน

พิธีลอยอังคาร

เรือลอยอังคาร แนะนำ 5 สถานที่ให้บริการเรือสำหรับพิธีลอยอังคาร ในราคาประหยัด

เรือลอยอังคาร มีความเกี่ยวข้องกับพิธีกรรมความเชื่อของคนไทยที่มีมาอย่างยาวนาน ที่มักจะกระทำหลังจากที่เผาศพเสร็จแล้ว ก็จะเก็บอัฐิไปทำบุญ ห่อด้วยผ้าขาวหรือบรรจุในโถ นำไปทิ้งลงแม่น้ำ หรือที่เราเรียกกันว่า พิธีลอยอังคาร ซึ่งในวันนี้เราจะมาแนะนำสถานที่ให้บริการกันในราคาประหยัด เรือลอยอังคาร

งานศพคริส

งานศพคริส พิธีกรรมเพื่อการจากไปของผู้ล่วงลับ

สำหรับในพิธี งานศพคริส นั้นจะเป็นรูปแบบของงานที่มีการจัดขึ้นในกรณีที่มีการจากไปของผู้ล่วงลับที่ได้มีการนับถือศาสนาคริส โดยพิธีการทางศาสนาในส่วนนี้จะนิยมใช้วิธีการในการฝังร่างของผู้ล่วงลับลงใน โลงศพ ก็จะเป็นรูปแบบที่มีความ คล้ายคลึงกัน หรือแตกต่างกันไปในแต่ละศาสนาเป็นสิ่งสำคัญแล้วนั้น ก็จะเป็นการแสดงความเคารพการแสดงความอาลัยให้กับการจากไปของผู้ล่วงลับในท่านนั้น ๆ